ผมได้รับเชิญไปร่วมอภิ ปรายในงานเสวนา “100 ปี สหกรณ์ไทย ก้าวใหม่แห่งการพัฒนา”
เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา โดยมีท่านรัฐมนตรีช่วยว่ าการกระทรวงพาณิชย์ รองอธิบดีกรม
ส่งเสริมสหกรณ์ และประธานกรรมการดำเนินการสันนิ บาตสหกรณ์ เป็นวิทยากรผู้ร่วมการอภิปราย
งานเสวนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ในการทบทวนบทเรียนการดำเนิ นงานของสหกรณ์ไทยในช่วง 100 ปี
ที่ผ่านมา และแสวงหาทิศทางการพัฒนาสหกรณ์ ไทยในอนาคต
เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา โดยมีท่านรัฐมนตรีช่วยว่
ส่งเสริมสหกรณ์ และประธานกรรมการดำเนินการสันนิ
งานเสวนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์
ที่ผ่านมา และแสวงหาทิศทางการพัฒนาสหกรณ์
สหกรณ์ในประเทศไทยเปรี ยบเหมือนนักมวยที่ได้รับการดู แลมากเป็นพิเศษ เหมือนไข่ในหิน สหกรณ์
จึงไม่ค่อยได้เผชิญกับการแข่งขั นมากนัก แตกต่างจากธุรกิจภาคเอกชนที่อยู ่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน
ซึ่งต่างต้องขึ้นสังเวียนต่อสู้ ในโลกธุรกิจที่แท้จริง จนทำให้ธุรกิจต้องล้ มหายตายจากไปเป็นจำนวนมาก
จึงไม่ค่อยได้เผชิญกับการแข่งขั
ซึ่งต่างต้องขึ้นสังเวียนต่อสู้
ดังตัวอย่างของร้านโชว์ห่วยซึ ่งรัฐบาลที่ผ่านมาพยายามผลักดั นให้สู้กับธุรกิจโมเดิร์นเทรด อย่าง
เช่น เทสโก้โลตัส บิ๊กซี หรือคาร์ฟู แต่ด้วยธรรมชาติของร้านโชว์ห่ วยที่มีขนาดเล็ก ไม่มีเงินทุน ทำวิจัย
และ พัฒนาได้ยาก ทำการตลาดแข่งขันไม่ได้ และไม่มีความประหยัดจากขนาด (Economy of Scale) ทำให้แข่งขันไม่ได้ จนโชว์ห่วยมีจำนวนลดลงเรื่อยๆ
เช่น เทสโก้โลตัส บิ๊กซี หรือคาร์ฟู แต่ด้วยธรรมชาติของร้านโชว์ห่
และ พัฒนาได้ยาก ทำการตลาดแข่งขันไม่ได้ และไม่มีความประหยัดจากขนาด (Economy of Scale) ทำให้แข่งขันไม่ได้ จนโชว์ห่วยมีจำนวนลดลงเรื่อยๆ
ขณะที่สหกรณ์ยังไม่ต้องเผชิ ญการแข่งขันที่รุนแรงดังกล่าว เพราะมีกฎหมายและกลไกของรัฐ
ปกป้องอยู่ แต่ในอนาคตหากสหกรณ์ถูกบังคั บให้ต้องแข่งขัน สหกรณ์จำนวนมากอาจแข่งขันไม่ได้
หากการดูแลสหกรณ์ยังเป็นแบบเดิ มๆ ซึ่งไม่สมจริงและไม่ทำให้ สหกรณ์แข่งขันได้จริง ถึงกระนั้นไม่ได้
หมายความว่าสหกรณ์ไม่ควรแข่งขัน แต่ระบบการดูแลสหกรณ์ต้องมี การยกเครื่องเพื่อให้สหกรณ์มี ความ
พร้อมที่จะออกไปต่อสู้ในโลกธุ รกิจที่แท้จริง
ปกป้องอยู่ แต่ในอนาคตหากสหกรณ์ถูกบังคั
หากการดูแลสหกรณ์ยังเป็นแบบเดิ
หมายความว่าสหกรณ์ไม่ควรแข่งขัน แต่ระบบการดูแลสหกรณ์ต้องมี
พร้อมที่จะออกไปต่อสู้ในโลกธุ
ในฐานะที่ผมได้มี โอกาสทำงานเกี่ยวข้องกั บกระบวนการสหกรณ์ และมีความห่วงใยความอยู่รอดของ
สหกรณ์ ผมยินดีที่เห็ นความพยายามของผู้ที่เกี่ยวข้ องที่จะผลักดันให้สหกรณ์ลุกขึ้ นสู้ แต่การทำให้สหกรณ์
แข่งขันได้ ภาครัฐในฐานะพี่เลี้ยงของสหกรณ์ จำเป็นต้องมียุทธศาสตร์ที่ เหมาะสม ซึ่งผมมีข้อเสนอแนะ
เกี่ยวกับทิศทางการพัฒนาสหกรณ์ ดังนี้...
สหกรณ์ ผมยินดีที่เห็
แข่งขันได้ ภาครัฐในฐานะพี่เลี้ยงของสหกรณ์
เกี่ยวกับทิศทางการพัฒนาสหกรณ์
‘ฟันธง’ หากไม่เล็กก็ต้องใหญ่ไปเลย
ผมเคยเขียนหนังสือเล่มหนึ่ งคือ “SLE: ทิศทางธุรกิจไทยในอนาคต” หนังสื อเล่มนี้อธิบายว่า
ธุรกิจที่จะอยู่รอดได้ ในอนาคตจะต้องเป็น S คือธุรกิจขนาดเล็ก หรือไม่ก็ L คือธุรกิจขนาดใหญ่
ส่วน M หรือธุรกิจขนาดกลางๆ จะอยู่รอดได้ยาก
ธุรกิจที่จะอยู่รอดได้
ส่วน M หรือธุรกิจขนาดกลางๆ จะอยู่รอดได้ยาก
ในทำนองเดียวกันสหกรณ์ที่ จะอยู่รอดได้ในอนาคตต้องเป็ นสหกรณ์ขนาดเล็กหรือใหญ่ไปเลย สนับสนุนสหกรณ์ให้ใหญ่คับโลก ผมเห็นว่าสหกรณ์ขนาดใหญ่ที่แข่ งขันได้ในอนาคตนั้นไม่ใช่ใหญ่
ระดับชาติแต่ต้องใหญ่ระดับโลก เพราะสหกรณ์ต้องแข่งขันในระดั บโลก คู่แข่งของสหกรณ์เป็นธุรกิจ
ขนาดใหญ่ระดับโลก ดังจะเห็นได้ จากกระแสการควบรวมของธุรกิจในอุ ตสาหกรรมต่างๆ เช่น สถาบัน
การเงิน บริษัทยา บริษัทน้ำมัน เป็นต้น เนื่องจากการแข่งขันที่ทวี ความรุนแรงมากขึ้น ทำให้ธุรกิจต้อง
แข่งกันด้วยประสิทธิภาพ ซึ่งการควบรวมกิจการทำให้ธุรกิ จมีความได้เปรียบจากความประหยั ดจาก
ขนาดมากขึ้น
ระดับชาติแต่ต้องใหญ่ระดับโลก เพราะสหกรณ์ต้องแข่งขันในระดั
ขนาดใหญ่ระดับโลก ดังจะเห็นได้
การเงิน บริษัทยา บริษัทน้ำมัน เป็นต้น เนื่องจากการแข่งขันที่ทวี
แข่งกันด้วยประสิทธิภาพ ซึ่งการควบรวมกิจการทำให้ธุรกิ
ขนาดมากขึ้น
วิสัยทัศน์การพัฒนาสหกรณ์ จึงควรเป็นพยายามทำให้สหกรณ์ที่ มีศักยภาพมีขนาดใหญ่ขึ้น โดยอาจ
พิจารณาถึงแนวทางในการเปิ ดโอกาสให้สหกรณ์ในระดับชั้นคุ ณภาพดีมีข้อจำกัดในการดำเนิ นงานลดลง
มีโอกาสในการทำธุรกิจได้กว้ างขวางขึ้น ระดมสมาชิกได้หลากหลายมากขึ้น และเข้าถึงทรัพยากรและ
เงินทุนได้มากขึ้น ตลอดจนการสนับสนุนการควบรวมกั นของสหกรณ์ ทั้งการควบรวมกับสหกรณ์ประเภท
เดียวกันหรือต่างประเภทกัน หรือแม้กระทั่งการรวมตัวกับองค์ กรธุรกิจรูปแบบอื่น
พิจารณาถึงแนวทางในการเปิ
มีโอกาสในการทำธุรกิจได้กว้
เงินทุนได้มากขึ้น ตลอดจนการสนับสนุนการควบรวมกั
เดียวกันหรือต่างประเภทกัน หรือแม้กระทั่งการรวมตัวกับองค์
ทำให้สหกรณ์เป็นสหกรณ์เฉพาะทาง (Specialized Co-op) โดยสนับสนุนการปรับโครงสร้าง
ของสหกรณ์ให้มีความคล่องตัว กระฉับกระเฉงมากขึ้น โดยเน้นเฉพาะการทำธุรกิจที่เป็ นจุดแข็งหรือ
ความเชี่ยวชาญหลัก (core competence) ของสหกรณ์ และเน้นการทำธุรกิจที่เป็นช่ องว่างการตลาด (niche market) ซึ่งมีความแตกต่างจากสิ่งที่ธุ รกิจขนาดใหญ่และธุรกิจส่วนใหญ่ ดำเนินการอยู่ เพื่อหลีกเลี่ยงการแข่งขั นโดยตรงกับธุรกิจขนาดใหญ่ที่มี ความได้เปรียบมากกว่า ตัวอย่างเช่น หาก
สหกรณ์ต้องการจำหน่ายเสื้อผ้ าอาจเน้นการจำหน่ายเสื้อผ้ าสำหรับคนอ้วน หรือการจำหน่ายสินค้าสำหรับ
คนถนัดซ้าย เป็นต้น
ของสหกรณ์ให้มีความคล่องตัว กระฉับกระเฉงมากขึ้น โดยเน้นเฉพาะการทำธุรกิจที่เป็
ความเชี่ยวชาญหลัก (core competence) ของสหกรณ์ และเน้นการทำธุรกิจที่เป็นช่
สหกรณ์ต้องการจำหน่ายเสื้อผ้
คนถนัดซ้าย เป็นต้น
‘ปลดแอก’ ให้ดำเนินงานได้ครบวงจร
ในปัจจุบัน กฎระเบียบของรัฐได้ กำหนดกรอบการดำเนินงานของสหกรณ์ โดยจำแนกสหกรณ์เป็น 7
ประเภทที่มีขอบเขตการดำเนินธุ รกิจที่แตกต่างกัน อย่างไรก็ดี การจำกัดขอบเขตการดำเนินงานของ
สหกรณ์เช่นนี้ แม้ว่ามีเหมาะสมกับสถานการณ์ ในอดีต แต่อาจไม่สอดคล้องกับสภาพแวดล้ อมการดำเนิน
ธุรกิจในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งสถานการณ์ทางเศรษฐกิจมี ความเสี่ยงมากขึ้น ภาวะเศรษฐกิจมีความ
ผันผวนมากขึ้น โอกาสและเครื่องมือทางธุรกิ จใหม่ๆ ที่มีมากขึ้น และขอบเขตของธุรกิจมีความชัดเจน
น้อยลง เนื่องจากการเชื่อมโยงและบู รณาการของกิจกรรมทางธุรกิจต่างๆ มีมากขึ้น การจำกัดขอบเขต
การดำเนินธุรกิจของสหกรณ์จึ งอาจทำให้สหกรณ์ขาดความยืดหยุ่น และไม่สามารถกระจายความเสี่ยง
ทางธุรกิจได้ รวมทั้งปิดโอกาสในการดำเนินธุ รกิจอื่นที่อาจมีส่วนสนับสนุ นหรือเพิ่มความเข้มแข็งให้กับ
ธุรกิจหลัก
ประเภทที่มีขอบเขตการดำเนินธุ
สหกรณ์เช่นนี้ แม้ว่ามีเหมาะสมกับสถานการณ์
ธุรกิจในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งสถานการณ์ทางเศรษฐกิจมี
ผันผวนมากขึ้น โอกาสและเครื่องมือทางธุรกิ
น้อยลง เนื่องจากการเชื่อมโยงและบู
การดำเนินธุรกิจของสหกรณ์จึ
ทางธุรกิจได้ รวมทั้งปิดโอกาสในการดำเนินธุ
ธุรกิจหลัก
ผมได้เสนอให้ภาครัฐเปลี่ยนแนวคิ ดการกำกับดูแลและส่งเสริมสหกรณ์ จากการแบ่งประเภทสหกรณ์
เป็นแท่งๆ เป็นการเปิดโอกาสให้สหกรณ์ที่มี อยู่กลายเป็น “สหกรณ์สากล” ( Universal
Cooperatives) หรือสหกรณ์ที่สามารถทำธุรกิจได้ ครบวงจรในตัวเอง ซึ่งจะทำให้สหกรณ์สามารถ
กระจายความเสี่ยงได้ และมีความสามารถในการแข่งขั นมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหกรณ์ออมทรั พย์
ซึ่งหากแข่งขันกั บธนาคารโดยตรงจะไปไม่รอด ภาครัฐจึงควรเปิดโอกาสให้สหกรณ์ ออมทรัพย์ทำธุรกิจ
การเงินได้หลากหลายมากขึ้น เพราะแม้แต่ธนาคารพาณิชย์เองยั งต้องปรับตัวให้เป็ นธนาคารครบวงจร
(Universal Bank) เพื่อลดต้นทุนการดำเนิ นการและกระจายความเสี่ยงทางธุ รกิจ ...
เป็นแท่งๆ เป็นการเปิดโอกาสให้สหกรณ์ที่มี
Cooperatives) หรือสหกรณ์ที่สามารถทำธุรกิจได้
กระจายความเสี่ยงได้ และมีความสามารถในการแข่งขั
ซึ่งหากแข่งขันกั
การเงินได้หลากหลายมากขึ้น เพราะแม้แต่ธนาคารพาณิชย์เองยั
(Universal Bank) เพื่อลดต้นทุนการดำเนิ
No comments:
Post a Comment